Author

SiamQuant Team

Browsing
Admin ผู้ดูแลเว็บไซต์ SiamQuant.com ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแบ่งปันความรู้และสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการลงทุนอย่างเป็นระบบให้กับนักลงทุนไทย

สำหรับงานสัมมนานี้ จะเป็นการนำเสนอนวัตกรรมใหม่สำหรับการทดสอบวิจัยกลยุทธ์การลงทุนอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยลดความยุ่งยากของการเขียนโค้ดสำหรับนักลงทุนทุกๆท่าน และเพิ่มขีดจำกัดในการค้นคว้าวิจัยกลยุทธ์การลงทุนต่างๆ

ในวันนี้เราจะพาทุกคนมาไขความลับเกี่ยวกับการใช้ค่า Long-Term P/E Ratio ในระยะยาวจากผลการทดสอบในตลาดหุ้นไทยกัน เพื่อพิสูจน์ความจริงกันว่า คำแนะนำของ Benjamin Graham จะยังคงใช้ได้กับตลาดหุ้นไทยเมื่อวันเวลาผ่านมากว่าชั่วอายุคนได้หรือไม่!?

เราคงไม่ต้องอธิบายว่า “เส้นค่าเฉลี่ย” เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่ได้รับความนิยม และเป็นที่รู้จักของเพื่อนๆนักลงทุนมากแค่ไหน แต่ถ้าถามกลับไปก็แทบไม่น่าเชื่อว่า…มีน้อยคนนักที่รู้ว่าเหตุใดมันจึงเกิดขึ้นมา และมันเกิดขึ้นมาได้อย่างไร? แล้วใครเป็นคนแรกที่ค้นพบเครื่องมือสำคัญตัวนี้? วันนี้เราจะพาเพื่อนๆไปหาคำตอบพร้อมกันเลยครับ!

Paul Tudor Jones หนึ่งใน Market Wizard ผู้จัดการกองทุน Hedge Fund ผู้โด่งดังได้เคยกล่าวเอาไว้ว่า “จงร่วมเป็นส่วนหนึ่งไปกับแนวโน้มใหญ่เสมอ และตัวชี้วัดในทุกสิ่งของผมคือเส้นค่าเฉลี่ย 200 วัน!” ดังนั้น ในวันนี้เราจะมาทดสอบกันว่ากลยุทธ์ของเขาจะยังคงใช้ได้กับตลาดหุ้นไทยกันหรือไม่ และมันจะได้ผลดีแค่ไหน เราไปติดตามกันครับ!

ในวันนี้เราจึงอยากพาทุกคนไปเรียนรู้ถึงความมหัศจรรย์ของเส้นค่าเฉลี่ยหรือ Moving Average ด้วยการสรุปงานวิจัยด้านการเงินที่โด่งดังที่สุดชิ้นหนึ่งของโลก ซึ่งเขียนโดยผู้จัดการกองทุนชื่อดังอย่าง Mebane T. Faber แห่งกองทุน Cambria Investment ให้ได้อ่านกันครับ!

เปรียบเทียบความแข็งแกร่งของหุ้นด้วย Relative Performance ในสัปดาห์ก่อนนั้นเราได้แนะนำถึงการใช้กราฟ Price Relative เพื่อประเมินว่าหุ้นตัวใดแข็งแกร่งหรืออ่อนแอเมื่อเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานต่าง ๆ (เช่น SET Index, Sector, Industry group) หลังจากได้ลองใช้กันแล้ว…

อันตรายอย่างหนึ่งของการเป็นควอนท์ก็คือ การที่เราค้นพบกลยุทธ์บางอย่างที่สามารถทำกำไรได้ดีในอดีต และนำมันไปใช้โดยคิดว่าจะสามารถทำกำไรได้เช่นเดียวกันในอนาคต ทั้งที่ความจริงแล้วกลยุทธ์ดังกล่าวอาจทำกำไรได้เพียงเพราะความ “โชคดี” เท่านั้น

ทดสอบความแข็งแกร่งของหุ้นด้วย Price Relative “Price Relative” หรือ “ราคาสัมพัทธ์” คือการเปรียบเทียบราคาของหุ้นกับดัชนีเช่น SET index เพื่อประเมินว่าหุ้นดังกล่าวแข็งแกร่งหรืออ่อนแอเมื่อเทียบกับตลาดโดยรวม นอกจากนี้ยังสามารถใช้เปรียบเทียบราคาของหุ้นกับ Sector หรือ Industry…