Category

งานวิจัยและบทความทั้งหมด

Category

งานวิจัยและบทความทั้งหมดของทีมงาน SiamQuant

ในบทความนี้ผมจะแสดงให้เห็นถึงหลักฐานอย่างชัดเจนว่า ทำไมคุณจึงควรรอให้ตลาดหรือหุ้นที่คุณสนใจแสดงแนวโน้มเป็นขาขึ้นออกมาให้ชัดเจนกันเสียก่อน ซึ่งแม้ว่ามันอาจจะดูช้าไม่ทันใจสักเท่าไหร่ แต่ก็กลับให้ผลลัพธ์ในระยะยาวที่ดีกว่าไหนๆอย่างที่คุณอาจนึกไม่ถึงกันเลยทีเดียวครับ!

ในบทความนี้ ผมจะมาเล่าให้นักลงทุนฟังถึงที่มาที่ไปและเส้นทางของแนวคิดการจัดพอร์ตการลงทุน (Asset Allocation) และประโยชน์ของมัน โดยใช้เวลาอ่านไม่เกิน 5 นาทีครับ!

ในบทความพิเศษชิ้นนี้ ผมอยากที่จะมาเล่าถึงแนวคิดที่มีประโยชน์ จากการได้ลองผิดลองถูกกับการสร้างบริษัทแบบ Remote Company และการทำงานแบบ Work From Home (WFH) ตลอด 5 ปีที่ผ่านมาของทีมงาน SiamQuant ให้ทุกคนได้อ่านกัน เพื่อให้เป็น Shortcut ในการบริหารจัดการและการทำงานแบบ WFH ให้กับทุกๆท่านครับ

ในบทความนี้เราจะมารีวิวผลตอบแทนของ 33 กลยุทธ์ที่สร้างขึ้นมาจากแนวคิดของนักลงทุนระดับโลกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับดัชนี SETTRI Index

บทความนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆพี่ๆน้องๆนักลงทุนได้ฟังและรับรู้ถึงความเสี่ยงของหุ้นขาลงที่นอกเหนือไปจาก ”ราคา”หุ้นที่ลดลง นั่นก็คือความเสี่ยงที่สภาพคล่อง (Liquidity) จะลดลงเช่นกันนั่นเอง

ในบทความนี้ผมจะทำการทดสอบวิจัยผลกระทบของการที่กลยุทธ์การลงทุนแบบ Trend Following มีการตั้ง “Profit Target” และมันจะช่วยให้ผลตอบแทนดีขึ้นอย่างที่เราเชื่อหรือไม่!?

ในช่วงของการเกิดวิกฤิตไวรัสโควิด-19 นี้นั้น ทีมงาน SiamQuant จึงได้ทำการคัดเลือกระบบการลงทุน 3 รูปแบบในคลังชุดโค้ดระบบการลงทุนของ SiamQuant AlphaSuite ที่ได้ถูกพิสูจน์แล้วว่า พวกมันสามารถที่จะฟันฝ่าวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆในอดีต อาทิเช่น วิกฤติต้มยำกุ้งในช่วงปี ค.ศ. 1997 และ วิกฤติแฮมเบอร์เกอร์ในช่วงปี ค.ศ. 2008 มาให้ได้ศึกษากันครับ

ในบทความนี้ผมจึงรวบรวมข้อมูลทางสถิติเกี่ยวกับหุ้นในดัชนี SET 50 ที่มีอัตราการปรับตัวลดลงอย่างรุนแรงอย่างสูงที่สุด 50 อันดับแรก ผมหวังว่าจะเป็นประโยชน์กับเพื่อนๆพี่น้องนักลงทุนกันครับ

ในบทความนี้เราจะมารีวิวผลตอบแทนของ 33 กลยุทธ์ที่สร้างขึ้นมาจากแนวคิดของนักลงทุนระดับโลกในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับดัชนี SETTRI Index

ในบทความนี้เราจะมาทำความรู้จักและทดสอบเชิงสถิติกันครับว่าระหว่างตัวแปร Low PE และ Low PBV นั้นตัวแปรใดมีประสิทธิภาพมากกว่ากัน